by zalim-code.com

ระเบียบข้อปฏิบัติระหว่างฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

ระเบียบปฏิบัติ
1. นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 จะต้องมีเวลาปฏิบัติงานครบ 1 ภาคเรียน ยกเว้นกรณิจำเป็นต้องได้รับอนุญาตจากผู้บริหารโรงเรียน
2. นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 จะต้องแต่งกายตั้งแต่งเส้นผมจรดรองเท้า และใช้เครื่องแบบนักษึกษาตามระเบียบของมหาวิทยาลัยที่แนบมา
3. นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 ต้องห้ามการพนัน อบายมุข สิ่งเสพติดทุกอย่าง ชู้สาว รวมไปถึงการกระทำที่ผิดคุณธรรมทั้งในและนอกเวลาปฏิบัติงานเด็ดขาด
4. นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 จะต้องปฏิบัติตามคำตักเตือนและคำแนนะนำของครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อำนวยการ อาจารย์พี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศอย่างเคร่งครัด
5.นักศึกษาฝึก ประสบการณ์ ขั้นปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 จะต้องไปถึงโรงเรียนฝึกประสบการณ์เวลานอกโรงเรียนเข้าอย่างน้อย 30 นาที เวลากลับที่พักหลังจากโรงเรียนเลิกแล้ว 30 นาทีอย่างน้อย
6. นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 จะต้องลงเวลาการทำงานและกลับตามความเป็นจริงในบัญชีลงเวลาการทำงานที่ โรงเรียนจัดทำ
7. การขออนุณาตลาป่วย นักศึกษาจะต้องยื่นในลาตามระเบียบของทางราชการต่อครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ หรือผู้อำนวยการ ให้ส่งใบลาในวันที่ป่วยหรือวันแรกที่กลับมาทำการสอนหลังจากหายป่วยแล้ว
8. ในระหว่างเวลาราชการ ถ้านักศึกษามีความจำเป็นจะต้องออกนอกบริเวณโรงเรียนให้นักศึกษาขออนุญาตจาก อาจารย์พี่เลี้ยง หรือผู้บริหารโรงเรียน และปฏิบัติตามระเบีบยการออกนอกบริเวณของโรงเรียนตามระบุในสัญยาที่ทำไว้กับ ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
9.นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 จะต้องปฏิบัติตามระเบียบต่างๆ ของโรงเรียน เช่นเดียวกับครูประจำการขั้นทดลองปฏิบัติตามระเบียบต่างๆของโรงเรียน เช่นเดียวกับครูประจำการขั้นการทดลองปฏิบัติงานจึงไม่มัสิทธิลากิจ ยกเว้นกรณีได้รับอนุญาตจากผู้บิหารโรงเรียน
10.นักศึกษาฝึกประสบการณื ขั้นปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 จะต้องรายงานให้ ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ หรือผู้อำนวยการ และอาจารย์นิเทศทราบทันที ถ้ามีเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่โรงเรียน มหาวิทยาลัย นักเรียน หรือตัวนักศึกษาเอง
11. นักศึกษาควรปรึกษาอาจารย์พี่เลี้ยงเกี่ยงกับการทำแผนการสอน และต้องส่งแผนการสอนให้อาจารย์พี่เลี้ยงตรวจล่วงหน้าก่อนสอน 1 สัปดาห์
12. นักศึกษาที่เป็นประธานหน่วยฝึกประสบการณ์ ขั้นการสอนในสถารศึกษา 1 จะต้องรายงานการมาสาย ขาด การลาป่วย ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์ ในโรงเรียนให้อาจารย์นิเทศก์ทราบทุกครั้งที่มาทำการนิเทศ และสรุปเป็นลายลักษณือักษรส่งฝ่ายฝึกประสบการณืในวันสัมมนาทุกครั้ง และวันปัจฉิมนิเทศ
13. นักศึกษาจะต้องมีการประชุมหารื เพื่อวางโครงการปฏิบัติงานและแก้ไขปัญหาต่างตลอดจนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซึ่งกันและกันเป็นประจำทุกสัปดาห์ และเลขานุการหน่วยต้องจดบันทึกไว้ในสมุดรายงานการประชุมทุกครั้ง และส่งฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในวันสัมมนาและปัจฉิมนิเทศ
14. นักศึกษาฝึกประสบการณื ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 ที่พักในบ้านพักของโรงเรียน จะต้องไม่นำบุคคลภายนอกมาค้างคืนในบ้านพัก การไปค้างคืนที่อื่นจะต้องแจ้งให้ทางอาจารย์ที่รับผิดชอบเรื่องที่พักทราบ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษรทุกครั้ง
15.ถ้านักศึกษาประพฤติตนไม่เหมาะสมกับ การเป็นนักศึกษาฝึกประสบการณืวิชาชีพครู แม้นักศึกษาได้รับการว่ากล่าวตักเตือนแล้วก็ยังไม่แก้ไขปรับปรุงตนเองให้ดี ขึ้น มหาวิทยาลัยอาจพิจารณาให้นักศึกษาพ้นสภาพการฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 ในภาคเรียนนั้น

วันจันทร์ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2553

แผนสถิติ 2

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สถิติ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
รายวิชาคณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค 33101 ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3 ภาคเรียนที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การสร้างตารางแจกแจงความถี่ เวลา 1 ชั่วโมง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
1. มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
มาตรฐาน ค 5.1 : เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลได้
2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
2.1 ด้านความรู้ (K)
สร้างตารางแจกแจกความถี่ของข้อมูลที่กำหนดให้ได้
2.2 ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (A)
1) มีความรับผิดชอบ
2) สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ เรียบร้อย
2.3 ด้านทักษะ / กระบวนการเรียนรู้ (P)
1) การแก้ปัญหา
2) การใช้เหตุผล
3) การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้ (K)
นักเรียนสามารถสร้างตารางแจกแจกความถี่ของข้อมูลที่กำหนดให้ได้
3.2 ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (A)
1) นักเรียนมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
2) นักเรียนสามารถทำงานได้อย่างเป็นระบบและเรียบร้อย
3.3 ด้านทักษะ / กระบวนการเรียนรู้ (P)
1) นักเรียนมีกระบวนการแก้ปัญหาที่หลากหลาย
2) นักเรียนสามารถบอกเหตุผลในการแก้โจทย์ปัญหาได้
3) นักเรียนมีวิธีการสื่อสาร สื่อความหมาย และการนำเสนอที่หลากหลาย

4. สาระสำคัญสาระการเรียนรู้
สร้างตารางแจกแจกความถี่ของข้อมูลที่กำหนดให้ได้

5. สาระการเรียนรู้
เนื่องจาก “ข้อมูลดิบ” หรือ “คะแนนดิบ” หรือ “ค่าจากการสังเกต” ยังเป็นข้อมูลที่ไม่ได้ดำเนินการอย่างเป็นระบบที่ง่ายต่อการทำความเข้าใจ และยังไม่สามารถแปลความหมายของข้อมูลในภาพรวมได้ เช่น
จากการตรวจให้คะแนนผลงานของนักเรียน จำนวน 10 คน พบว่า นักเรียนได้คะแนน ดังนี้
20 24 18 19 20 15 20 22 14 และ 21 ตามลำดับ จากการตรวจให้คะแนนผลงานของนักเรียน จำนวน 40 คน พบว่า นักเรียนได้คะแนน ดังนี้
20 24 18 19 20 15 20 22 14 21
20 15 10 15 25 19 10 26 22 17
26 29 27 20 18 10 14 28 19 12
13 15 25 22 22 18 26 18 18 25

จากข้อมูลด้านบน ต้องการถามว่า
1) นักเรียนที่มีคะแนนน้อยที่สุด ได้คะแนนเท่าไร
2) นักเรียนที่ได้คะแนนน้อยกว่า 15 คะแนนมีกี่คน
3) นักเรียนที่ได้คะแนน 16-20 คะแนน มีกี่คน

เพื่อให้การตอบคำถามง่ายและรวดเร็วขึ้น รวมทั้งสามารถที่จะพิจารณาคุณลักษณะอื่นๆของข้อมูลได้ด้วย จึงนำข้อมูลมาจัดให้เป็นระบบมากขึ้นด้วยการแจกแจงความถี่ของข้อมูลด้วยการสร้างตารางที่ประกอบไปด้วย 3 สดมภ์ ดังนี้

คะแนน รอยขีด ความถี่

สดมภ์ที่ 1 เขียนข้อมูลเรียงจากน้อยไปมากหรือจากมากไปน้อย เรียงหัวข้อสดมภ์นี้ตามลักษณะของข้อมูล เช่น คะแนน เป็นต้น
สดมภ์ที่ 2 เขียนบันทึกด้วยรอยขีดแสดงการซ้ำกันของข้อมูล เรียกสดมภ์นี้ว่า รอยขีด
สดมภ์ที่ 3 นับจำนวนรอยขีดและจดบันทึก เรียกจำนวนเหล่านี้ว่า ความถี่
ผลจากตารางแจกแจงความถี่นี้ จะทำให้ได้ตารางแสดงข้อมูลที่เรียกว่า ตารางแจกแจงความถี่





จากการสำรวจวันเกิดของนักเรียนจำนวน 25 คน พบว่าวันเกิดของนักเรียนเป็นดังนี้
พุธ อาทิตย์ พฤหัสบดี พุธ จันทร์ อาทิตย์ เสาร์ เสาร์ พุธ ศุกร์
อังคาร เสาร์ จันทร์ อาทิตย์ พุธ เสาร์ พฤหัสบดี อังคาร จันทร์ จันทร์
พฤหัสบดี พุธ อาทิตย์ อังคาร พุธ
จงสร้างตารางแจกแจงความถี่จากการสำรวจและบรรยายผลที่ได้
วันเกิด รอยขีด คามถี่ (จำนวนคน)
อาทิตย์ |||| 4
จันทร์ |||| 4
อังคาร ||| 3
พุธ ||||| | 6
พฤหัสบดี ||| 3
ศุกร์ | 1
เสาร์ |||| 4
รวม 25
จากตารางแจกแจงความถี่ สามารถนำเสนอในรูปแบของการบรรยายได้ว่า
“จากการสำรวจวันเกิดของนักเรียนจำนวน 25 คน พบว่านักเรียนที่เกิดวันพุธมีนักเรียนที่เกิดวันพุธมีมากที่สุดจำนวน 6 คน รองลงมาคือวันอาทิตย์ วันจันทร์และวันเสาร์วันละ 4 คน เกิดวันอังคารและวันพฤหัสบดีวันละ 3 คน และมีนักเรียนเพียงคนเดียวที่เกิดวันศุกร์”
6. ภาระงาน / ชิ้นงาน
6.1 ใบงานที่ 1

7. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
7.1 ขั้นนำ
ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับการเก็บรวบรวมข้อมูลและเชื่อโยงเข้าสู่การนำเสนอข้อมูล
7.2 ขั้นเข้าสู่บทเรียน
1) ทบทวนการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยเชื่อมโยงเข้าสู่การนำข้อมูลไปใช้ต้องมีการจัดข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่อ่านง่ายและเข้าใจง่าย โดยใช้การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบของตาราง
2) ครูอธิบายและให้ความหมายเกี่ยวกับการตารางแจกแจงความถี่ และยกตัวอย่างประกอบ
เช่น ตารางแจกแจงความถี่ ประกอบไปด้วย 3 สดมภ์ ดังนี้ คือ


คะแนน รอยขีด ความถี่

สดมภ์ที่ 1 เขียนข้อมูลเรียงจากน้อยไปมากหรือจากมากไปน้อย เรียงหัวข้อสดมภ์นี้ตามลักษณะของข้อมูล เช่น คะแนน เป็นต้น
สดมภ์ที่ 2 เขียนบันทึกด้วยรอยขีดแสดงการซ้ำกันของข้อมูล เรียกสดมภ์นี้ว่า รอยขีด
สดมภ์ที่ 3 นับจำนวนรอยขีดและจดบันทึก เรียกจำนวนเหล่านี้ว่า ความถี่
ผลจากตารางแจกแจงความถี่นี้ จะทำให้ได้ตารางแสดงข้อมูลที่เรียกว่า ตารางแจกแจงความถี่
3) ครูยกตัวอย่างในหนังสือและให้นักเรียนศึกษาตาม พร้อมทั้งตอบคำถามครู โดยให้นักเรียนสรุปแล้วนำเสนอในรูปแบบของการบรรยายลงในใบความรู้ เรื่องการแจกแจงความถี่ของข้อมูล
4) ครูกำหนดประเด็นในการเก็บข้อมูลที่ใกล้ตัวนักเรียน เพื่อให้นักเรียนรวมรวมข้อมูลด้วยตัวเอง
เช่น วันเกิดของนักเรียน ม. 3/3 จำนวน 20 คน ได้ข้อมูลดังนี้ เสาร์ อังคาร จันทร์ ศุกร์พฤหัสบดี อาทิตย์ เสาร์ ศุกร์ พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ อาทิตย์ จันทร์ จันทร์ เสาร์ พุธพฤหัสบดี อาทิตย์ ศุกร์ พุธ
5) นักเรียนพิจารณาข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้พร้อมตอบคำถามครู
เช่น - ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้เรียกว่า อะไร
- ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ เป็นข้อมูลประเภทใด
6) ให้นักเรียนพิจารณาข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้และให้นักเรียนนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ใส่ตารางแจกแจงความถี่ โดยครูได้ถามนักเรียนเกี่ยวกับการสร้างตารางแจกแจงความถี่เพื่อทบทวนความรู้ของนักเรียนก่อนทำ
เช่น - ตารางแจกแจงความถี่ประกอบด้วย กี่สดมภ์
- สดมภ์ที่ 1 เขียนว่าอะไร
- สดมภ์ที่ 2 เขียนว่าอะไร
- สดมภ์ที่ 3 เขียนว่าอะไร
ให้นักเรียนสร้างตารางแจกแจงความถี่ด้วยตนเอง จะได้ดังนี้

วันเกิด รอยขีด คามถี่ (จำนวนคน)
อาทิตย์
จันทร์
อังคาร
พุธ
พฤหัสบดี
ศุกร์
เสาร์
รวม

7) ให้นักเรียนนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ใส่ลงในตารางแจกแจงความถี่ และ นำข้อมูลจากตารางเขียนนำเสนอในรูปแบบของการบรรยาย
7.3 ขั้นสรุป
1) ครูผู้สอนสรุปเนื้อหาการเรียนรู้ที่ได้ในคาบเรียนโดยให้นักเรียนทำใบงานที่ 1
2) ให้นักเรียนศึกษาการสร้างตารางแจกแจงข้อมูลจากใบความรู้ และหนังสือเรียนประกอบ
3) ให้นักเรียนทุกคนช่วยกันสรุปวิธีการสร้างตารางแจกแจงความถี่ที่ได้ทำในตัวอย่างและใน
ใบงานที่ 1
8. สื่อการเรียนรู้ และ แหล่งเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน
2) ใบความรู้ที่ เรื่อง สถิติ
3) ใบงานที่ 1
8.2 แหล่งเรียนรู้
1) ห้องสมุดโรงเรียน
2) นักเรียนที่เรียนเก่งและรุ่นพี่
3) ครูทุกคน
9. การวัดผลและการประเมินผลการเรียนรู้
สิ่งที่จะวัด เครื่องมือวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ เกณฑ์การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
1. ด้านความรู้ (K)
การสร้างตารางแจกแจงข้อมูล 1) ใบความรู้เรื่องสถิติ
2) ใบงานที่ 1 1) นักเรียนสามารถตอบคำถามได้เป็นส่วนใหญ่
2) นักเรียนสามารถทำใบงาน ถูกต้องอย่างน้อย 50%
2. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (A)
1) ความรับผิดชอบ
2) ความสามารถในการทำงานอย่างเป็นระบบ เรียบร้อย แบบสังเกตพฤติกรรม
นักเรียนสามารถปฏิบัติตามแบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน และได้คะแนน 2 – 3 คะแนน ถือว่าผ่าน
3. ด้านทักษะ / กระบวนการเรียนรู้ (P)
1) การแก้ปัญหา
2) การใช้เหตุผล
3) การสื่อสาร การสื่อความหมายและการนำเสนอ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
นักเรียนสามารถแก้ปัญหา ใช้เหตุผล สื่อสาร สื่อความหมายและนำเสนอ (ใบงานที่ 1) ทำถูกต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 และได้คะแนนตามแบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน
2 – 3 คะแนน ถือว่าผ่าน
หมายเหตุ 0 – 49% ปรับปรุง (ไม่ผ่าน) , 70 – 79% ดี , 50 – 59% พอใช้
60 - 69% ปานกลาง, 80 – 100% ดีมาก, 1 - ปรับปรุง , 2 - ดี , 3 - ดีมาก
บันทึกผลหลังการสอน

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………...................…
………………………………………………………………………………………...................…
………………………………………………………………………………………...................…


(ลงชื่อ)
( นางสาวสุนิสา เจริญกลิ่น )

ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………...................…
………………………………………………………………………………………...................…
………………………………………………………………………………………...................…


(ลงชื่อ)
( นายเทพนม นันทวี )
อาจารย์พี่เลี้ยงโรงเรียนด่านทับตะโกราษฎร์อุปถัมภ์




































เนื่องจาก “ข้อมูลดิบ” หรือ “คะแนนดิบ” หรือ “ค่าจากการสังเกต” ยังเป็นข้อมูลที่ไม่ได้ดำเนินการอย่างเป็นระบบที่ง่ายต่อการทำความเข้าใจ และยังไม่สามารถแปลความหมายของข้อมูลในภาพรวมได้ เช่น
จากการตรวจให้คะแนนผลงานของนักเรียน จำนวน 10 คน พบว่า นักเรียนได้คะแนน ดังนี้
20 24 18 19 20 15 20 22 14 และ 21 ตามลำดับ จากการตรวจให้คะแนนผลงานของนักเรียน จำนวน 40 คน พบว่า นักเรียนได้คะแนน ดังนี้
20 24 18 19 20 15 20 22 14 21
20 15 10 15 25 19 10 26 22 17
26 29 27 20 18 10 14 28 19 12
13 15 25 22 22 18 26 18 18 25

จากข้อมูลด้านบน ต้องการถามว่า
4) นักเรียนที่มีคะแนนน้อยที่สุด ได้คะแนนเท่าไร
5) นักเรียนที่ได้คะแนนน้อยกว่า 15 คะแนนมีกี่คน
6) นักเรียนที่ได้คะแนน 16-20 คะแนน มีกี่คน

เพื่อให้การตอบคำถามง่ายและรวดเร็วขึ้น รวมทั้งสามารถที่จะพิจารณาคุณลักษณะอื่นๆของข้อมูลได้ด้วย จึงนำข้อมูลมาจัดให้เป็นระบบมากขึ้นด้วยการแจกแจงความถี่ของข้อมูลด้วยการสร้างตารางที่ประกอบไปด้วย 3 สดมภ์ ดังนี้

คะแนน รอยขีด ความถี่

สดมภ์ที่ 1 เขียนข้อมูลเรียงจากน้อยไปมากหรือจากมากไปน้อย เรียงหัวข้อสดมภ์นี้ตามลักษณะของข้อมูล เช่น คะแนน เป็นต้น
สดมภ์ที่ 2 เขียนบันทึกด้วยรอยขีดแสดงการซ้ำกันของข้อมูล เรียกสดมภ์นี้ว่า รอยขีด
สดมภ์ที่ 3 นับจำนวนรอยขีดและจดบันทึก เรียกจำนวนเหล่านี้ว่า ความถี่
ผลจากตารางแจกแจงความถี่นี้ จะทำให้ได้ตารางแสดงข้อมูลที่เรียกว่า ตารางแจกแจงความถี่

จากการสำรวจวันเกิดของนักเรียนจำนวน 30 คน พบว่าวันเกิดของนักเรียนเป็นดังนี้
พุธ อาทิตย์ พฤหัสบดี พุธ จันทร์ อาทิตย์ เสาร์ เสาร์ พุธ ศุกร์
อังคาร เสาร์ จันทร์ อาทิตย์ พุธ เสาร์ พฤหัสบดี อังคาร จันทร์ จันทร์
พฤหัสบดี พุธ อาทิตย์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี พุธ จันทร์ พุธ เสาร์
จงสร้างตารางแจกแจงความถี่จากการสำรวจและบรรยายผลที่ได้
วัน รอยขีด ความถี่
จันทร์ ||||| 5
อังคาร ||| 3
พุธ ||||| ||| 8
พฤหัสบดี |||| 4
ศุกร์ | 1
เสาร์ ||||| 5
อาทิตย์ |||| 4
รวม 30 30
จากตารางแจกแจงความถี่ สามารถนำเสนอในรูปแบของการบรรยายได้ว่า
“จากการสำรวจวันเกิดของนักเรียนจำนวน 30 คน พบว่านักเรียนที่เกิดวันพุธมีนักเรียนที่เกิดวันพุธมีมากที่สุดจำนวน 8 คน รองลงมาคือ วันจันทร์และวันเสาร์วันละ 5 คน เกิดวันอาทิตย์และวันพฤหัสบดีวันละ 4 คน มีนักเรียนเกิดวันอังคารจำนวน 3 คน และมีนักเรียนเพียงคนเดียวที่เกิดวันศุกร์”







ชื่อ ...................................................................................... เลขที่ .......... ชั้น ..........


ให้นักเรียนสร้างตารางแจกแจงความถี่จากข้อมูลที่ให้มาและ นำข้อมูลที่ให้มานำเสนอในรูปแบบของการบรรยาย
ครูสอบถามจำนวนชั่วโมงที่ในการนอนเมื่อคืนนี้ ของนักเรียนมา 30 คน และได้ข้อมูลมาดังนี้
8 9 9 8 9 10 8 9 7 6 8 9 7 9 8 10
7 8 9 8 7 10 9 7 8 8 9 8 8 9

วิธีทำ
จำนวนชั่วโมง รอยขีด ความถี่
6 | 1
7 ||||| 5
8 ||||| ||||| | 11
9 ||||| ||||| 10
10 ||| 3
รวม 30 30

“จากการสอบถามเกี่ยวกับเวลาที่ใช้ในการนอนของนักเรียนจำนวน 30 คน พบว่านักเรียนนอนมากที่สุดคือ 8 ชั่โมง มีจำนวน 11 คน นักเรียนที่นอน 9 ชั่วโมงมีจำนวน 10 คน นักเรียนที่นอน 7 ชั่วโมงมีจำนวน 5 คน นักเรียนที่นอน 10 ชั่วโมงมีจำนวน 3 คน และมีนักเรียนที่นอนน้อยที่สุดคือ 6 ชั่วโมง มีจำนวน 1 คน ”





แบบประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์ จากแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ค 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่1 ชื่อหน่วย การสร้างตารางแจกแจงความถี่



เลขที่

ชื่อ-สกุล


-ความถูกต้อง ( 10 คะแนน) -ความสะสะอาดของงาน ( 5 คะแนน) - ความเป็นระเบียบของงาน ( 5 คะแนน) รวม สรุปผลการประเมิน
(ผ่าน-ไม่ผ่าน)
1 ด.ช. กฤษฎา ทับอ๋อย 10 4 3 17 ผ่าน
2 ด.ช. ขจรพงษ์ จีนตุ้ม
3 ด.ช. เจษฎา ขาวจีน
4 ด.ช. ชาคริต สัมมานุช
5 ด.ช. ดนัย นรินทร์นอก 10 3 3 16 ผ่าน
6 ด.ช. ธีรพงษ์ มูลทองโล่ย 10 3 3 16 ผ่าน
7 ด.ช. เนตินัย ไกรเนตร
8 ด.ช. บุญธรรม ลือบางใหญ่
9 ด.ช. ประสงค์ จันทร์แผ้ว 10 5 5 20 ผ่าน
10 ด.ช. พรรณราย มีหรอ 10 5 5 20 ผ่าน
11 ด.ช. พัลลภ โกญจนาท
12 ด.ช. วิฑูรย์ แซ่ล้อ 10 5 3 18 ผ่าน
13 ด.ช. ศรายุทธ สลับเขียว
14 ด.ช. ศิริชัย แป้นโก๋ 5 1 2 8 ไม่ผ่าน
15 ด.ช. ศิริวัฒน์ บุตรเลี่ยม 10 5 5 20 ผ่าน
16 ด.ช. ศิริศักดิ์ รอดวรรณโน
17 ด.ช. สันติ มีจันทร์ 10 4 5 19 ผ่าน
18 ด.ช. สุพจน์ สอดศรี
19 ด.ช. สุวิรัตน์ สังข์ทอง
20 ด.ช. อดิศร ดวงแจ่ม
21 ด.ช. อัมพรศักดิ์ ปัญญา 10 4 5 19 ผ่าน
22 ด.ญ. กัลยา จันเพ็ชร 10 5 4 19 ผ่าน
23 ด.ญ. ชุติมา สังข์ทอง
24 ด.ญ. ชุติมา เพชรน้อย 10 5 5 20 ผ่าน
25 ด.ญ. ณัฐภรณ์ อุไรลักษณ์ 10 5 5 20 ผ่าน
26 ด.ญ. นัฏฐากาญน์ หมื่นสายญาติ 10 4 5 19 ผ่าน
27 ด.ญ. น้ำฝน สุธาพจน์ 10 5 5 20 ผ่าน
28 ด.ญ. นุชนาฏ มะปะภา 10 5 5 20 ผ่าน
29 ด.ญ. ประภาพร ศิริบุตร 10 5 4 19 ผ่าน
30 ด.ญ. พรรณทิพา นุชนารถ 10 3 5 18 ผ่าน
31 ด.ญ. รุ่งนภา โพธิ์ทอง
32 ด.ญ. วันทนา นพเก้า 10 5 4 19 ผ่าน
33 ด.ญ. วาสนา ทับทิมสี 10 4 2 16 ผ่าน
34 ด.ญ. ศิรินทิพย์ วรรณโณ 10 4 3 17 ผ่าน
35 ด.ญ. สุณิสา มณีโชติ 10 5 3 18 ผ่าน
36 ด.ญ. สุภาพร เซี่ยงคิ้ว 10 4 3 17 ผ่าน
37 ด.ญ. หนึ่งฤทัย เมืองนก 10 3 2 15 ผ่าน
38 ด.ญ. อณิษฐา จูสิน
39 ด.ญ. อนุสรา สินภู่
40 ด.ญ. อรดา อินวิเชียร 10 3 3 16 ผ่าน
41 ด.ญ. อรุณี แสงทอง 10 3 3 16 ผ่าน
42 ด.ญ. ยุพา สังข์ทอง 10 4 2 16 ผ่าน
43 ด.ช. ปรีชา คมขำ
รวม 265 111 102
เฉลี่ยร้อยละ 9.81 4.11 7.29
เกณฑ์การประเมิน ผ่าน 3 รายการ อยู่ในระดับ ดีมาก
ผ่าน 2 รายการ อยู่ในระดับ ดี (ลงชื่อ)......................................................ผู้ประเมิน
ผ่าน 1 รายการ อยู่ในระดับ พอใช้ (นางสาวสุนิสา เจริญกลิ่น)
ไม่ผ่านการประเมินทั้งหมด อยู่ในระดับ ต้องปรับปรุง
คะแนนแบบฝึกหัด ต้อง ได้ 50% ขึ้นไปถึงจะผ่าน

แบบประเมินด้านความรู้ ด้านความรับผิดชอบ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ค 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสร้างตารางแจกแจงคามถี่




เลขที่

ชื่อ-สกุล


- ส่งงานก่อนหรือตรงกำหนดเวลานัดหมาย - รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและ
ปฏิบัติจนเป็นนิสัย รวมรายการที่ผ่านการประเมิน ระดับการประเมิน สรุปผลการประเมิน
(ผ่าน-ไม่ผ่าน)
1 ด.ช. กฤษฎา ทับอ๋อย 3 3 2 ดี ผ่าน
2 ด.ช. ขจรพงษ์ จีนตุ้ม
3 ด.ช. เจษฎา ขาวจีน
4 ด.ช. ชาคริต สัมมานุช
5 ด.ช. ดนัย นรินทร์นอก 2 1 2 ดี ผ่าน
6 ด.ช. ธีรพงษ์ มูลทองโล่ย 3 2 2 ดี ผ่าน
7 ด.ช. เนตินัย ไกรเนตร
8 ด.ช. บุญธรรม ลือบางใหญ่
9 ด.ช. ประสงค์ จันทร์แผ้ว 3 3 2 ดี ผ่าน
10 ด.ช. พรรณราย มีหรอ 3 2 2 ดี ผ่าน
11 ด.ช. พัลลภ โกญจนาท
12 ด.ช. วิฑูรย์ แซ่ล้อ 3 2 2 ดี ผ่าน
13 ด.ช. ศรายุทธ สลับเขียว
14 ด.ช. ศิริชัย แป้นโก๋ 2 2 2 ดี ผ่าน
15 ด.ช. ศิริวัฒน์ บุตรเลี่ยม 3 2 2 ดี ผ่าน
16 ด.ช. ศิริศักดิ์ รอดวรรณโน
17 ด.ช. สันติ มีจันทร์
18 ด.ช. สุพจน์ สอดศรี 2 2 2 ดี ผ่าน
19 ด.ช. สุวิรัตน์ สังข์ทอง
20 ด.ช. อดิศร ดวงแจ่ม
21 ด.ช. อัมพรศักดิ์ ปัญญา 3 2 2 ดี ผ่าน
22 ด.ญ. กัลยา จันเพ็ชร 3 2 2 ดี ผ่าน
23 ด.ญ. ชุติมา สังข์ทอง
24 ด.ญ. ชุติมา เพชรน้อย 3 2 2 ดี ผ่าน
25 ด.ญ. ณัฐภรณ์ อุไรลักษณ์ 3 2 2 ดี ผ่าน
26 ด.ญ. นัฏฐากาญน์ หมื่นสายญาติ 3 3 2 ดี ผ่าน
27 ด.ญ. น้ำฝน สุธาพจน์ 3 2 2 ดี ผ่าน
28 ด.ญ. นุชนาฏ มะปะภา 3 3 2 ดี ผ่าน
29 ด.ญ. ประภาพร ศิริบุตร 2 1 1 พอใช้ ไม่ผ่าน
30 ด.ญ. พรรณทิพา นุชนารถ 3 3 2 ดี ผ่าน
31 ด.ญ. รุ่งนภา โพธิ์ทอง
32 ด.ญ. วันทนา นพเก้า 3 2 2 ดี ผ่าน
33 ด.ญ. วาสนา ทับทิมสี 3 2 2 ดี ผ่าน
34 ด.ญ. ศิรินทิพย์ วรรณโณ 3 2 2 ดี ผ่าน
35 ด.ญ. สุณิสา มณีโชติ 2 3 2 ดี ผ่าน
36 ด.ญ. สุภาพร เซี่ยงคิ้ว 2 2 2 ดี ผ่าน
37 ด.ญ. หนึ่งฤทัย เมืองนก 2 1 1 พอใช้ ไม่ผ่าน
38 ด.ญ. อณิษฐา จูสิน
39 ด.ญ. อนุสรา สินภู่
40 ด.ญ. อรดา อินวิเชียร 2 3 2 ดี ผ่าน
41 ด.ญ. อรุณี แสงทอง 1 2 1 พอใช้ ไม่ผ่าน
42 ด.ญ. ยุพา สังข์ทอง 2 3 2 ดี ผ่าน
43 ด.ช. ปรีชา คมขำ
รวม 70 59
เฉลี่ยร้อยละ 2.59 2.18
เกณฑ์การประเมิน
ผ่าน 2 รายการ อยู่ในระดับ ดี (ลงชื่อ)......................................................ผู้ประเมิน
ผ่าน 1 รายการ อยู่ในระดับ พอใช้ (นางสาวสุนิสา เจริญกลิ่น)
ไม่ผ่านการประเมินทั้งหมด อยู่ในระดับ ต้องปรับปรุง

เนื่องจาก “ข้อมูลดิบ” หรือ “คะแนนดิบ” หรือ “ค่าจากการสังเกต” ยังเป็นข้อมูลที่ไม่ได้ดำเนินการอย่างเป็นระบบที่ง่ายต่อการทำความเข้าใจ และยังไม่สามารถแปลความหมายของข้อมูลในภาพรวมได้ เช่น
จากการตรวจให้คะแนนผลงานของนักเรียน จำนวน 10 คน พบว่า นักเรียนได้คะแนน ดังนี้
20 24 18 19 20 15 20 22 14 และ 21 ตามลำดับ จากการตรวจให้คะแนนผลงานของนักเรียน จำนวน 40 คน พบว่า นักเรียนได้คะแนน ดังนี้
20 24 18 19 20 15 20 22 14 21
20 15 10 15 25 19 10 26 22 17
26 29 27 20 18 10 14 28 19 12
13 15 25 22 22 18 26 18 18 25

จากข้อมูลด้านบน ต้องการถามว่า
7) นักเรียนที่มีคะแนนน้อยที่สุด ได้คะแนนเท่าไร
8) นักเรียนที่ได้คะแนนน้อยกว่า 15 คะแนนมีกี่คน
9) นักเรียนที่ได้คะแนน 16-20 คะแนน มีกี่คน

เพื่อให้การตอบคำถามง่ายและรวดเร็วขึ้น รวมทั้งสามารถที่จะพิจารณาคุณลักษณะอื่นๆของข้อมูลได้ด้วย จึงนำข้อมูลมาจัดให้เป็นระบบมากขึ้นด้วยการแจกแจงความถี่ของข้อมูลด้วยการสร้างตารางที่ประกอบไปด้วย 3 สดมภ์ ดังนี้

คะแนน รอยขีด ความถี่

สดมภ์ที่ 1 เขียนข้อมูลเรียงจากน้อยไปมากหรือจากมากไปน้อย เรียงหัวข้อสดมภ์นี้ตามลักษณะของข้อมูล เช่น คะแนน เป็นต้น
สดมภ์ที่ 2 เขียนบันทึกด้วยรอยขีดแสดงการซ้ำกันของข้อมูล เรียกสดมภ์นี้ว่า รอยขีด
สดมภ์ที่ 3 นับจำนวนรอยขีดและจดบันทึก เรียกจำนวนเหล่านี้ว่า ความถี่
ผลจากตารางแจกแจงความถี่นี้ จะทำให้ได้ตารางแสดงข้อมูลที่เรียกว่า ตารางแจกแจงความถี่



จากการสำรวจวันเกิดของนักเรียนจำนวน 30 คน พบว่าวันเกิดของนักเรียนเป็นดังนี้
พุธ อาทิตย์ พฤหัสบดี พุธ จันทร์ อาทิตย์ เสาร์ เสาร์ พุธ ศุกร์
อังคาร เสาร์ จันทร์ อาทิตย์ พุธ เสาร์ พฤหัสบดี อังคาร จันทร์ จันทร์
พฤหัสบดี พุธ อาทิตย์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี พุธ จันทร์ พุธ เสาร์
จงสร้างตารางแจกแจงความถี่จากการสำรวจและบรรยายผลที่ได้









จากตารางแจกแจงความถี่ สามารถนำเสนอในรูปแบของการบรรยายได้ว่า
“................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................”






ชื่อ ...................................................................................... เลขที่ .......... ชั้น ..........



ให้นักเรียนสร้างตารางแจกแจงความถี่จากข้อมูลที่ให้มาและ นำข้อมูลที่ให้มานำเสนอในรูปแบบของการบรรยาย
ครูสอบถามจำนวนชั่วโมงที่ในการนอนเมื่อคืนนี้ ของนักเรียนมา 30 คน และได้ข้อมูลมาดังนี้
8 9 9 8 9 10 8 9 7 6 8 9 7 9 8 10
7 8 9 8 7 10 9 7 8 8 9 8 8 9

วิธีทำ
........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ “จากการสอบถามเกี่ยวกับเวลาที่ใช้ในการนอนของนักเรียนจำนวน 30 คน พบว่า.......................
......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................”

ไม่มีความคิดเห็น: